เกจวัดแนวเชื่อม ถูกนำไปใช้สำหรับวัดขนาดแนวเชื่อมของชิ้นส่วนที่ได้ทำการเชื่อมไป เนื่องจากความผิดปกติของรอยเชื่อมเช่น รอยแหว่ง รอยพอกเกย จะทำให้ความแข็งแรงลดลงและรอยเชื่อมแตกเสียหายได้

คำศัพท์เฉพาะในงานเชื่อม

  1. 1.ความหนาของแนวเชื่อม (Throat thickness)
    ความหนาที่เกิดจากการเชื่อมส่วนหน้าตัดขวางทรงสามเหลี่ยมขณะทำการเชื่อมพื้นผิวสองอันเข้าด้วยกันโดยทำมุม 90⁰
  2. 2.รอยอาร์ค (Arc strike)
    รอยที่เกิดขึ้นที่ชิ้นส่วนอื่นนอกเหนือจากส่วนที่ทำการเชื่อม เมื่อทำการเชื่อมอาร์ค
  3. 3.หลุม (Pit)
    หลุมที่เกิดขึ้นบนพื้นผิวเชื่อม เกิดจากการเชื่อมที่ไม่เรียบร้อย
  4. 4.สันนูน (Bead)
    รอยเส้นที่นูนขึ้นมาหลังการเชื่อม
  5. 5.รอยกัดแหว่ง (Under-Cut)
    ร่องผิดปกติที่ปลายก้านบนเนื้อโลหะที่ทำการเชื่อม
  6. 6.รอยพอกเกย (Overlap)
    เป็นแผลพอกเกยขึ้นมาบนเนื้อโลหะเนื่องจากการเชื่อมผิดพลาด

ใช้สำหรับวัดรอยกัดแหว่งโดยเฉพาะ

ใช้สำหรับวัดรอยกัดแหว่งโดยเฉพาะ

ใช้สำหรับวัดความหนาแนวเชื่อม สันนูน และ รอยกัดแหว่ง

ใช้สำหรับวัดความหนาแนวเชื่อม สันนูน และ รอยกัดแหว่ง

การวัดความหนาของแนวเชื่อม ความยาวและความสูงขอบเชื่อม

การวัดความหนาของแนวเชื่อม ความยาวและความสูงขอบเชื่อม

การวัดความหนาของมุมขอบ

การวัดความหนาของมุมขอบ

วิธีการตรวจสอบ

รายการที่ตรวจสอบ รูปภาพ วิธีวัด
สาเหตุที่รอยเชื่อมแตก 1. รอยแตกบนรอยนูน เกจวัดแนวเชื่อม โดยหลักการแล้วสามารถ
ตรวจสอบได้ด้วยสายตา
การตรวจสอบ
สภาพภายนอก
และรูปทรง
ของแนวเชื่อม
2. หลุมบนรอยนูนที่เกิดจากการเชื่อม เกจวัดแนวเชื่อม ตรวจสอบด้วยสายตา
3. ความไม่สม่ำเสมอกันบนพื้นผิว
ที่เกิดจากการเชื่อม
เกจวัดแนวเชื่อม เกจวัดแนวเชื่อม
4. รอยกัดแหว่ง เกจวัดแนวเชื่อม เกจวัดแนวเชื่อม
5. รอยพอกเกย เกจวัดแนวเชื่อม ตรวจสอบด้วยสายตา
6. ขนาดของมุมเชื่อมความหนา
แนวเชื่อมขาดหายไปบางส่วน
หรือ มีการเชื่อมเกินมาบางส่วน
เกจวัดแนวเชื่อม เกจวัดแนวเชื่อม
เกจวัดแนวเชื่อม เกจวัดแนวเชื่อม
7. ส่วนที่เชื่อมเกินขึ้นมาจากร่องเชื่อม เกจวัดแนวเชื่อม เกจวัดแนวเชื่อม
อื่น ๆ 8. รอยอาร์ค เกจวัดแนวเชื่อม ตรวจสอบด้วยสายตา