• Advanced control—กลยุทธ์การควบคุมกระบวนการผลิต ที่เหนือกว่าวธิี PID loop control เช่น การควบคุมแบบ Feedforward, Dead-time compensation, Lead/lag, Adaptive gain, Neural networks และ Fuzzy logic

• Brushless motor คือมอเตอร์ชนิดที่ไม่แปรงถ่าน หรือมอเตอร์ซิงโครนัส 3 เฟส ที่ ทํางานโดยอาศัยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์กาํลัง เป็นสวิทช์ในการตัดต่อกระแสที่จ่ายให้กับ ขดลวดมอเตอร์ โดยที่ชนิดของมอเตอร์ จะพิจารณาตามลักษณะรูปคลื่นกระแสและ คุณสมบัติของแรงบิดหรือทอร์ค โดยจะนิยมเรียกว่า Brushless DC Motor ในกรณีที่ รูปแบบของกระแสและทอรคของมอเตอร์ที่ใช้มีลักษณะเป็นแบบสี่เหลี่ยม (Trapezoidal current / Torque ) และจะเรียกว่า Brushless AC Motor หรือ เรียกง่าย ๆ ว่า Brushless เมื่อลักษณะกระแสและทอร์ค เป็นรูปคลนื่ซายน์ (Sinusoidal current / Torque format )

• Fieldbus architecture—คือสถาปัตยกรรมของ การควบคุม (Control architecture ) ซึ่งใช้การ สื่อสารข้อมูลสองทางแบบดิจิตอล ระหว่างอุปกรณ์ สนามแบบอัจฉริยะ (Intelligent field devices) และระบบควบคุมหรือระบบมอนิเตอร์ ( Control / Monitoring systems) โดยใช้ สายสัญญาณเสนเดียว

• Human-machine interface—คอืวิธีการแสดงสถานะของเครื่องจักร (Machine status) ,สัญญาณเตือน (Alarms) ,ขอความ (Messages) และการ วินิจฉัยปญหา (Diagnostics) ในลักษณะของรูปภาพบนคอมพิวเตอร์ เพื่อเป็น สัญญาณแจ้งเตือนให้กับผู้ใช้งาน

• IEC 61131—คือมาตรฐานสากลสําหรับเป็นเครื่องมือ ในการเขียนโปรแกรมควบคุม เครื่องจักร ซึ่งมีด้วยกัน 5 มาตรฐาน

• Intelligent field devices—คืออุปกรณ์สนามแบบอัจฉริยะที่โครงสร้าง ประกอบด้วยไมโครโพรเซสเซอร์ (Microprocessor-based devices) ซึ่งสามารถ ประมวลผลกระบวนการไดหลายตัวแปร เพิ่มประสิทธภิาพในการรับส่งข้อมูล วินิจฉัย ผลลัพธ์ที่ได้ และกําหนดฟังก์ชั่นในการควบคุมการทํางาน

• Intelligent I/O modules—คือ อินพุทและเอาท์พุทโมดูล (I/O module ) ซึ่ง มีความเป็นอัจฉริยะหรือมีความฉลาดอยู่ในตวั สามารถรับค่าทางอนิพุท และส่งคําสั่ง ควบคุมค่าของเอาท์พุทโดยผ่านทาง PLC หรือคอนโทรลเลอร์ (Control controller) สําหรับการตดัสินใจที่เปนแบบรูทีน (Routine decision making) ไดเลย

• Internet—คือการรวบรวมขอมูล และแลกเปลี่ยนขอมูล ขาวสารจากหลายๆ ดาน จากที่สถานทตี่าง ๆ เชนขอมูล ทางอุตสาหกรรม ขอมูลการคาขาย ขอมูลการศึกษา ขอมูล รัฐบาล และเครือขายคอมพิวเตอรสวนบุคคล (Personal computer networks)

• Interoperability—คือการใชสินคาหรืออุปกรณที่ สามารถนํามาทดแทนกันได จากสินคาหรืออุปกรณที่มีเครื่องหมายการคาแตกตางกัน

• MES—คือระบบทชี่วยตัดสนิใจในการผลิต (Manufacturing Execution System) โดยทําหนาที่สงขอมูล เพื่อเปนแนวทางในการตัดสิน แนวทางในการเริ่มตน และ แนวทางในการตอบสนองเพื่อชวยใหกระบวนการผลติเหมาะสม และสอดคลองกับการ สั่งซื้อสินคาจากลูกคา

• Microsoft Windows Operating Systems—คือระบบปฏิบัติการ ที่ใชกัน อยางกวางขวางกับพีซี PC ตัวอยางเชน Microsoft NT ก็จะใชเปน Desktop และ Server package , Microsoft 95 ก็จะประกอบดวย Self-contained operating system และ DOS สวน Microsoft CE จะมีลักษณะที่มีขนาดเหมาะสมกับการงาน ที่ใช ซึ่งทั่ว ๆ ไปจะใชกับคอมพิวเตอรแบบพกพา ( Handheld PCs)

• Object-oriented software—ซอฟตแวรที่ใชกลุมโคดในการสรางรูปแบบจาํลอง การใชงานในเชิงวัตถุ (Object techniques) ซึ่งประกอบดวย COM/DCOM, Java และ CORBA standards.

• OLE for process control (OPC)—Object linking & embedding (OLE) ซึ่งจะจัดการเก็บขอมูลใหอยูในรูปของวตัถุ เพื่อใหแอปพลิเคชั่นตางๆ ดึงขอมูลไปใช ประโยชนในการรันโปรแกรมได ซึ่งลักษณะของ OPC ก็ใชแนวความคิดเดียวกนันี้แต ใชในงานทางดานควบคุมการผลิต

• Open controller—คือคอนโทรลเลอรที่มีลักษณะคลายกับคอนโทรลเลอรทใี่ชงาน ทั่วไป ตัวอยางเชน PLC แตคอนโทรลเลอรนี้จะใชงานบนวินโดว ควบคูกับซอฟตแวร คอนโทรล (Software control)

• Open systems—คือ Hardware / Software ที่ออกแบบใหยืดหยุนได ซึ่งทําให ผูใชสามารถใชอุปกรณตางยี่หอ และตางระบบทดแทนกันได

• PC control—คือกลยุทธการควบคุมในรูปแบบของซอฟตแวร (Softwareconfigured control strategy) โดยใชคอมพิวเตอรฮารดแวรมาตรฐาน และใช ซอฟตแวรควบคู

• PID (Proportional, Integral, Derivative control)—คือโมดูลอินพุท และ เอาทพุท แบบอัจฉริยะ (Intelligent I/O module) หรือโปรแกรมคาํสั่งซึ่งใช สําหรับ Automatic closed-loop operation ของกระบวนการควบคุมแบบวงรอบ process control loop
• Programmable Logic Controller (PLC)—คือระบบควบคุม แบบโซลิดสเตท (Solid-state control system) ลักษณะโครงสรางประกอบดวยหนวยความจํา ที่ผูใชสามารถใชโปรแกรมได (User-programmable memory) สําหรับเก็บคาํสั่ง เพื่อใชในการจัดลําดับการควบคุมและกาํหนดฟงกชั่นการทํางานแบบอัตโนมัติ

• S88—คือมาตรฐานสากลที่พัฒนาขึ้นโดยองคกร ISA เพื่อใหผูใชงานสามารถใช แนวความคิดแบบ Object-oriented นําไปกําหนด และสรางรูปแบบจําลองสําหรับ ควบคุมกระบวนการผลติได

• Soft logic—คือลักษณะของคอนโทรลเลอรที่อยูในรูปซอฟตแวร ซึ่งสามารถใชงาน ไดบนเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคล (PC) ซึ่งการใชงานสวนใหญจะเปนลักษณะงานที่ ตองการเก็บขอมูลและและประมวลผลขอมูลจํานวนมาก ๆ และยังสามารถจะติดตอ สื่อสารกับระบบเน็ตเวิรคไดอีกดวย